ประวัติศาสตร์การค้นคว้างชนเผ่าคนไทยของนายวิลเลียม เคร์ดเนอร์

สำหรับการสำรวจในการค้นหาว่าคนไทยเรานั้นได้มีถิ่นกำเนิดมาจากนั้นกันแต่มันก็ยังไม่มีคำตอบที่ชัดเจนและน่าเชื่อถือได้เพราะว่าได้มีอีกหลายทฤษฎีมากมายที่มีการสำรวจของคนไทยและวันนี้เราก็ได้มีงานค้นคว้างที่มีความเกี่ยวข้องกับคนไทยพร้อมแล้วพิจารณาไปด้วยกันเลย

นอกจากนี้ก็ได้มีงานค้นคว้างที่เด่นอีกอย่างคืองานของ นายวิลเลียม เคร์ดเนอร์ ซึ่งค้นคว้าเกี่ยวกับยูนนาน โดยได้สำรวจภูมิประเทศและเผ่าพันธุ์ที่ได้ตกค้างในยูนนานสรุปว่าถิ่นเดิมของชาเผ่าคนไทยควรอาศัยอยู่ในที่ต่ำใกล้กับทะเล เลช่น มณฑลกวางสีกวางตุ่ง ส่วนในแทบอัลไตนั้น คนไทยไม่น่าจะอยู่เพราะว่าคนไทยยนั้นเาชอบการปลูกข้าวชอบดินแดนแทบร้อนไม่ชอบเนินเขา

นอกจากนั้นก็ยังได้มีนักวิชาการจากทางด้านตะวันตกอีกหลายท่านที่ได้ศึกษาเกี่ยวกับประเด็นนี้จนไม่สามารถที่เราจะนำเอามาเล่าได้ทั้งหมดงานเขียนของบุคคลเหล่านี้ก็ได้ให้แนวคิดแก่นักวิชาการไทยและต่างประเทศเช่น นายยอร์ช เซเดส์ 

ซึ่งก็ได้สรุปว่าชนชาตไทยได้แผ่ออกไปเหมือนกับผืนผ้าที่มีขนาดใหญ่มหึมาได้ปกคุมประเทศจีนแทบตอนใต้แทบตังเกี๋ยลาวสยามถึงพม่าส่วนนักประวัติศาสตร์ไทยที่ได้สนใจศึกษาค้นคว้างในประเด็นนี้ก็คือ พระยาประชากิจกรจักร์ (แช่ม บุนนาค) โดยอาศัยทั้งเอกสารไทยและต่างประเทศงานเขียนของท่านก็คือ พงศาวดารโยนก

ซึ่งได้ตีพิมพ์ในปีพ.ศ.2441- 2442งานชิ้นนี้ได้สรุปว่าคนไทยนั้นได้มาจากตอนใต้ของจีนจากนั้นก็ได้มีศาสตราจารย์ขจร สุขพานิชที่ได้เขียนสรุปถิ่นกำเนิดของคนไทยว่า มีอยู่ที่ทางตอนใต้ของประเทศจีนเขตมณฑลกวางตุ้ง กวางสี 

เมื่อ128ก่อนคริสต์ศักราชพระราชวงศ์ซางที่ได้เป็นมิตรเพื่อนบ้านกับเผ่าไทยล่มจมลงเพราะว่าบรรพบุรุษของจีนได้ตั้งราชวงศ์โจขึ้นครองบ้านครองเมืองจึงได้ทำให้พวกเจ้านายและพวกหนุ่มๆได้พาบริเวณอพยพลงมาทางตะวันตกตั้งแต่มณฑลเสฉวนเมืองเชียงตูลงล่างเรื่อยมาจนเข้าเขตยูนนานเมืองซาเหอและลงมาทางใต้ผ่านเขต12จุดไทยลงมาในเขตของประเทศลาวได้มีแขวนเผ่าไทยเดิมชื่อว่า ตูลาน

ซึ่งจีนได้เปลี่ยนชื่อเรียกว่าฉ่างโกในราชวงศ์หั่นซึ่งเมืองนี้ก็คือเมืองอาณาจักรลานช้างนั่นเองนักประวัติศาสตร์ไทยที่เป็นคนสำคัญอีกคนหนึ่งก็คือนาย จิตร ภูมิ ศักดิ์ได้ใช้วิธีในทางลุกติศาสตร์วิเคาระห์ตำนานพงเสาวดารท้องถิ่นทางเหนือของประเทศไทยและได้ตรวจสอบจารึกของประเทศที่ได้อยู่ข้างเคียงเขียนหนังสือชื่อความเป็นมาของคำสยามไทยลาวและขอมได้พิมพ์เผยแพร่ในราวพ.ศ.2519

เรื่องนี้ถูกเขียนใน ประวัติและตำนาน และติดป้ายกำกับ คั่นหน้า ลิงก์ถาวร