เหตุการณ์ 14 ตุลา 2516

      เป็นอีกเหตุการณ์ที่นักศึกษามหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ต้องจดจำกันอย่างไม่มีวันลืม ถึงการที่ต้องสูญเสียชีวิตนักศึกษาไปหลายคนจากเหตุการณ์ในครั้งนี้ โดยเรื่องราวเกิดขึ้นเมื่อในปี 2516 ช่วงประมาณเดือนตุลาคม ได้เกิดเหตุการณ์มีการชุมนุมครั้งใหญ่ของนักศึกษามหาวิทยาลัย เหตุเพราะนักศึกษามหาวิทยาลัยไม่พอใจกับรัฐบาลปัจจุบันที่มีการ

สำหรับความไม่พอใจที่นักศึกษามีต่อรัฐบาลชุดนี้ ว่ารัฐบาลของชุดจอมพลถนอมกิตติขจรนั้นเป็นรัฐบาลที่เน้นเผด็จการมีเรื่องราวต่างๆที่ให้นักศึกษานั้นเห็นถึงความไม่ชอบมาพากลของการรักษาอำนาจของรัฐบาลชุดนี้และยิ่งเรื่องที่รัฐบาลได้มีการควบคุมตัวชาย 13 คนในข้อหากบฏรัฐธรรมนูญยิ่งทำให้นักศึกษา

เกิดความไม่พอใจเกี่ยวกับเรื่องของการใช้อำนาจโดยมิชอบของรัฐบาลของพลเอกจอมพลถนอมกิตติขจรทำให้เกิดการประท้วงเกิดขึ้นโดยมีการนัดการชุมนุมกันที่ถนนราชดำเนินในวันที่ 13 ช่วงเวลากลางคืนของเดือนตุลาคมและเมื่อรัฐบาลเห็นว่านักศึกษาออกมาเรียกร้องชุมนุมกันที่ถนนราชดำเนินรัฐบาลจึงได้มีการปล่อยตัวชายทั้ง 13 คนอีกทั้งยังได้มีการทำสัญญา

จะทำตามข้อเรียกร้องที่นักศึกษามีการส่งเรื่องเรียกร้องไว้และที่สำคัญมีการประกาศว่าจะมีการทำรัฐธรรมนูญฉบับใหม่ขึ้นมาภายใน 1 ปีทำให้ในคืนนั้นนักศึกษาต่างก็พอใจกับผลการชุมนุมและมีการนัดหมายกันว่าจะยุติการชุมนุมในคืนอันเปล่าแต่อย่างไรก็ดีในคืนนั้นยังมีนักศึกษาบางกลุ่มที่ยังมีการชุมนุมกันต่อและได้มีการเข้าไปที่กรมประชาสัมพันธ์

โดยเข้ายึดระบบวิทยุกระจายเสียงของรัฐทำให้วันที่ 14 ตุลาคมรัฐบาลจึงเปลี่ยนไปไม่ทำตามที่เคยรับปากกับผู้ชุมนุมไว้แต่ใช้กำลังสลายการชุมนุมนักศึกษาในช่วงเวลาประมาณใกล้เที่ยงซึ่งในการสลายการชุมนุมในครั้งนั้นมีผลทำให้นักศึกษาบาดเจ็บหลายร้อยคนและยังมีคนที่เสียชีวิตอีกประมาณ 17 คนเป็นอย่างต่ำ

โดยให้เหตุผลของการสลายการชุมนุมในครั้งนี้ว่ารัฐบาลต้องการที่จะทำให้ประเทศชาติอยู่ในความสงบเรียบร้อยโดยอ้างเหตุผลที่มีกลุ่มนักศึกษาบางกลุ่มไปทำการยึดกรมประชาสัมพันธ์ซึ่งจากเหตุการณ์ 14 ตุลาคมส่งผลให้รัฐบาลชุดจอมพลถนอมประกาศยุติบทบาทการเป็นนายกรัฐมนตรีและได้ให้ดีดอธิการบดีของมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์

และยังเป็นอดีตศาลประธานศาลฎีกาได้ขึ้นเป็นนายกรัฐมนตรีแทน โดยมีพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดชเป็นผู้ออกมาประกาศการแต่งตั้งรัฐมนตรีคนใหม่รวมถึงออกมาพูดให้ประชาชนมีความรักความสามัคคีกันเหมือนเดิมเผื่อที่บ้านเมืองจะได้สงบร่มเย็นซึ่งนับตั้งแต่นั้นเป็นต้นมาเหตุการณ์จึงได้สงบลงและในทุกๆปีของวันที่ 14 ตุลาคมก็จะมีการจัดงานรำลึกถึงเหตุการณ์ที่ได้มีการสูญเสียในครั้งนี้

 

สนับสนุนเรื่องราวโดย  ติดต่อ bk8

เรื่องนี้ถูกเขียนใน ประวัติศาสตร์ และติดป้ายกำกับ , คั่นหน้า ลิงก์ถาวร