ไอสไตนส์ค้นพบการเป็นอยู่ของอะตอมเป็นผลงานชิ้นที่สอง

ในปี1902เด็กหนุ่มที่มีชื่อว่าไอสไตนส์ก็ได้มีความท้อแท้และสิ้นหวังก็ได้ย้ายมาที่เมืองเบิกที่ได้เป็นเมืองหลวงของเซอร์วิสเซอร์แลนด์และเขาก้ไม่ได้ทำงานที่ไม่ได้มีความเกี่ยวข้องกับวิทยาศาสตร์เลย

ซึ่งเพื่อนของเขาอีกหนึ่งคนก้ได้จัดให้เขานั้นได้ทำงานในระดับล่างเป็นเสมียนคอยจดสิทธิ์บัตรของสำนักงานจดสิทธิ์บัตรที่เซอร์วิสเซอร์แลนด์ซึ่งด้านบนชั้นสามของตึกแห่งนี้นอกจากนี้ด้านไอสไตนส์ก็ได้ใช้ระยะเวลา6วันต่อสัปดาห์เพื่อที่จะตรวจสอบใบสมัครจากนักประดิษฐ์ทุกประภคให้กับรัฐบาลเซอร์วิสเซอร์แลนด์ซึ่งภายในใบสิทธิ์บัตรนั้นมีข้อมูลอยู่ทุกๆอย่างแบบครบถ้วนและเขานั้นก็จะต้องเป็นคนที่จะลงลายละเอียดอย่างชั้นเชิงลึก

จากนั้นมันจะช่วยฝึกทักษะของนักฟิสิกส์เขาจะต้องทำงานอย่างรวดเร็วโดยเขาจะต้องขัดข้อมูลจากสิทธิ์บัตรที่ตัวเขานั้นจะต้องตรวจสอบซึ่งบอกก็ยังบอกอีกว่ามันไม่ได้เป็นงานที่ท่าทายเขาไม่รุ้สึกว่าตัวของเขานั้นไม่ได้ใช้สมองมากเท่าไหร่นัด

ซึ่งมันได้ทำให้ตัวของเขานั้นได้มีเวลาว่างในการศึกษาเรื่องของจักรวาลนอกจากนี้ไอสไตนส์เขาก็ไม่เคยจัดให้อยู่เป็นเด็กเรียนดีช่วงมหาวิทยาลัยและไม่เคยเป็นคนโปรของอาจารย์รุ่นพี่ซึ่งเขานั้นได้เป็นคนทำงานจดสิทธิ์บัตรได้ดีมากกว่าและนั่งเฝ้าฝันค่ำคืนถึงบรรยากาศในตอนที่เขานั้นได้เดินทางไปแสงเนื่องด้วยอาชีพนี้เขาจึงได้ทำการปฏิรูปที่ได้ผลิกประวัติศาสตร์ของโลกใบนี้

ซึ่งในการฝันกลางวันของเขาจะเป็นการเปลี่ยนแปลงความรู้ที่เกี่ยวกับจักรวาลไปอย่างสิ้นเชิงเมื่อในปี1905มันได้เป็นปีแห่งปาฏิหาริย์ของตัวเขา ซึ่งเขาได้จักการตีพิมพ์ผลงานสี่ชุดที่ตัวเขานั้นได้เขียนขึ้นมาในเวลาว่างงานชิ้นแรกต่อคำถามที่ได้มีมาอย่างช้านานวว่าแสงมันคืออะไรทฤษฎดีการแพร่รังสีมันจึงเป็นทฤษฎีแรกที่มันยังไม่มีใครรู้กล่าวว่าแสงนั้นคืออนุภาพที่เรียกว่าโฟตอน

เราได้ใช้มันในโทรทัศน์และใช้มันในแสงเลเซอร์ ทั้งนี้ก็ได้มีผลงานอีกหนึ่งชิ้นของ ไอสไตนส์วัยเพียงแค่26ปี ได้กล่าวถึงความรู้ที่เรานั้นทราบกันดีแล้วซึ่งมันได้เป็นการดำรงอยู่ของอะตอม ซึ่งคนในสมัยนั้นก็ยังไม่มีใครที่จะเชื่อว่ามันจะมีอะตอมเขานั้นได้พิสูจน์ว่าอะตอมได้รวมตัวกัน

เป็นอนุภาพหรือในอนุเล็กๆเป็นของเหลวได้พร้อมทั้งกับคำนวณขนาดของใันอีกด้วยซึ่งต้องบอกเลยว่าผลงานเหล่านี้มันจะเป้นผลงานชิ้นที่มันได้มีความโด่งเด่นสำหรับนักฟิสิกส์ทุกๆคน

 

ขอขอบคุณ  bk8 slot  ที่ให้การสนับสนุน

เรื่องนี้ถูกเขียนใน ศิลปะ และติดป้ายกำกับ , คั่นหน้า ลิงก์ถาวร