โคลอสเซียม สวยหรูเหมือนที่เราคิดกันจริงๆหรอ?

ถ้าพูดถึงโคลอสเซียมเราเชื่อว่าหลายๆคนก็น่าจะรู้จักกันมาเป็นอย่างดีแล้วว่ามันคือสนามกีฬาที่ยิ่งใหญ่ที่สุดในโลกในสมัยยุคโรมันเมื่อประมาณ2,000ปีที่แล้วที่เขาว่ากันว่าเป็นสนามกีฬาที่ยิ่งใหญ่ที่สุดในยุคนั้นและรอบนอกนั้นก็ได้ถูกสร้างจากประตูทั้งหมดเลย

ซึ่งสนามกีฬาตรงนี้ที่ได้ถูกสร้างขึ้นมาจากประตูทั้งหมดมันเลยเป็นสิ่งที่น่าทึ่งของคนในยุคปัจจุบันมาแต่ถามว่าความน่าทึ่งตรงจุดนี้มันน่าทึ่งตรงเฉพาะแค่การนำเอาประตูมาทำแค่นั้นหรอตามความเป็นจริงและตามข้อมูลที่เราได้ไปศึกษาหามามันไม่ใช่

ความน่าทึ่งของโคลอสเซียมมีมากมายตั้งแต่เรื่องของกลไกรต่างภายในโคลอสเซียมที่มีทั้งระบบลิฟท์ในการขนส่งคนหรือสัตว์ขึ้นไปหรือแม้แต่องค์ศาต่างๆการวางการจัดเรียงและรวมถึงอุปกรณ์วัตดุต่างๆในการก่อสร้างที่ค่อนข้างจะมีความแข็งแรงมากและสามารถจุคนได้ถึง50,000คนถึง55,000คนเลยทีเดียว

ถ้าเกิดว่าได้เทียบกับในยุคปัจจุบันก็จะเหมือนกับสนามกีฬาฟุตบอลขนาดกลางๆไปจนเกือบใหญ่เลยแต่ในยุคนั้นเขาไม่ได้มีเทคโนโลยีเหมือนอย่างในยุคปัจจุบันของเราซึ่งได้ทำให้คนส่วนใหญ่ได้ให้ความสนใจและตรงนี้มันได้เป็นสิ่งที่น่าทึ่งมากๆ

ซึ่งได้ตอนแรกความคิดในการสร้างสนามกีฬาโคลอสเซียมขึ้นมาคนที่คิดที่จะสร้างเขาได้มีความประสงค์ที่จะอยู่ดูความรุนแรงและความโกลาหลในกรุงโรมันสมัยนั้น เนื่องจากว่าจักรวรรดิโรมันในยุคนั้นได้เกิดวิกตเศรษฐกิจอย่างรุนแรงเพราะว่า เนโร จักรพรรดิองค์ที่5ของโรมันได้ทำการสั่งให้ขึ้นภาษีประชาชนอย่างรุนแรงเพียงเพราะต้องการที่จะนำภาษีตรงนี้ไปสร้างปราสาทที่อยู่ใจกลางกรุงโรมัน

และสร้างรูปปั้นทองคำร้อย%ที่ได้ถูกปั้นเป็นรูปปั้นของเขาเพื่อที่จะแสดงศักยภาพให้ทั้งโลกนั้นได้เห็นว่ากรุงโรมในตอนนั้นไม่ได้เป็น2ลองใครเลย และ ด้วยสาเหตุตรงนี้เลยทำให้ประชาชนได้ลุกฮือขึ้นมา เนื่องจกว่าเป็นการจัดเก็บภาษีของประชาชนที่ค่อนข้างที่

จะไม่ค่อยเป็นธรรมสักเท่าไหร่จึงเกิดการก่อปฏิวัติในกรุงโรมอยู่หลายปี ซึ่งในตอนนั้นเองทางจักรพรรดิ เนโร เขาก็ต้องการที่จะต้องการหยุดการปฏิวัติในครั้งนี้เขาเลยได้ทำการติดต่อไปยัง แม่ทัพท่านหนึ่งที่เคยมีผลงานจากการสู่รบในประเทศอังกฤษในตอนนั้น ซึ่งคนคนนั้นก็คือ เวสเปเซียน นั้นเองและสำหรับใครที่ยังไม่รู้ เวสเปเซียนคนนี้ที่เป็นคนคิดริเริ่มจัดการสร้างโคลอสเซียมขึ้นมา

 

สนับสนุนโดย  เว็บพนัน ฝากถอนไว

เรื่องนี้ถูกเขียนใน ประวัติศาสตร์ และติดป้ายกำกับ , คั่นหน้า ลิงก์ถาวร