เหตุการเรือบรรทุกน้ำมันแตก

มนุษย์เป็นสิ่งมีชีวิตที่ทำรายสภาพแวดล้อมทุกอย่างเพื่อผลประโยช์นของตัวเอง โดยที่พวกเขานั้นไม่สนใจกับสิ่งที่จะตามมาแต่อย่างใดถือแม้ว่ามันจะทำร้ายทำชาติก็ตามก่อนที่ธรรมชาติทั้งหลายที่เรานั้นได้ทำร้ายลงไปนั้นมันก็จะวนกลับมาทำร้ายพวกเรา

โดยที่เรานั้นไม่รู้ตัวและกว่าที่จะรู้ตัวว่าทำอะไรลงไปมันก็สายไปเสียแล้วก่อนที่จะหันมาโทษกันเองว่าใครผิดใครถูกกันแน่เฉพาะนั้นเรามาดูจากสิ่งที่ฝีมือมนุษย์นั้นได้ทำเอาไว้ที่โลกจะต้องงจารึกกันเลยดีกว่า

แอกซอน วัลเดซ 

30ปีแอกซอน วัลเดซ  ซึ่งเป็นเหตุการณ์ที่โลกนั้นไม่ลืม เมื่อวันที่ 24 มีนาคม ในปี1989เรือบรรทุน้ำมันขนาดใหญ่ที่เป็นของบริษัทแอกซอน วัลเดซ ได้เกิดเหตุเรือเกยเตี้ยชนกลับประการังจนเป็นเหตุทำให้ท้องเรือรั่วไหลเป็นระยะยาวและแน่นอนแล้วว่าเรือดังกล่าวนี้มีน้ำมันก่อนที่นำมันดิบมากมายมหาสารจะพุ่งออกมามากกว่า11ล้านแกลลอนแพร่กว้างออกมาเหนือน้ำทะเลมหาสารเลย

และอุบัติเหตุที่ได้เกิดขึ้นในครั้งนี้มันยากสุดๆสำหรับในการทำความช่วยเหลือเพราะว่ามันจะมีแต่เฮลิคอปเตอร์เท่านั้นที่จะสามารถจะบินไปถึงเรือได้แถมยังยากมากสุดๆเลยที่จะเอาเรือไป และด้วยน้ำมมันมหาสารที่พุ่งในไปในทะเลด้วยจำนวนประมาณ11ล้านแกลลอนหรือประมาณ41.6ล้านลิตรซึ่งก็ได้สร้างความเสียหายไปเป็นบริเวณวงกว้างกว่า2,100กิโลเมตร

ซึ่งได้เข้าครอบคุมพื้นที่ของทะเลราวๆประมาณ10,000ตารางกิโลเมตรและที่ยิ่งสำคัญไปกว่านั้นสัตว์มากมายที่ได้อาศัยอยู่ใต้ทะเลหลายล้านชนิดในท้องทะเลก็ต้องเสียชีวิตลงไปก็เพราะว่าน้ำมันดิบอีกทั้งระบบนิเวชก็ยังไม่สามารถที่จะฟื้นฟูได้ดีและเต็มที่มากเท่าไร

แต่ถึงแม้เวลาก็ผ่านเลยมากกว่าประมาณ31ปีแล้วก็ตาม ซึ่งสมัยในปัจจุบันนี้มันก็ยังมีให้เห็นกันอยู่ตลอดซึ่งมันก็ติดอยู่ตามโขดหินและสำหรับในจุดเริ่มต้นกำเนิดของเรื่องทั้งหมดนี้ก็มาจากการรู้เท่าไม่ถึงการกัปตันนั้นก็คือกัปตันโจเซฟเฮล สันรูดในขณะที่เรือแอกซอน วัลเดซที่กำลังแลนอยู่บนทะเลอย่างชิวๆอยู่นั้น

ในตอนนั้นกัปตันโจเซฟเฮลเขากำลังชิวๆอยู่กับการกินเหล้าบนเรือจากนั้นก็ได้ขับเรือไปต่อเรื่อยๆด้วยความที่กินเหล้าเข้าไปดื่มเข้าไปและก็ไม่สามารถที่จะครวบคุมตัวเองได้กัปตันก็จึงได้สั่งให้ลูกน้องของตัวเองนั้นให้มาบังคับขับเรือแทนกัปตันโจเซฟเฮลมันเป็นการอนุญาติให้เจ้าหน้าที่ขับเรือได้ทั้งๆที่เจ้าหน้าที่คนดังกล่าวนี้ไม่มีใบอนุญาติขับเรือ

 

สนับสนุนโดย  แทงบอลออนไลน์2020

เรื่องนี้ถูกเขียนใน ประวัติและตำนาน และติดป้ายกำกับ คั่นหน้า ลิงก์ถาวร