ประวัติศาสตร์และแรงศรัทธาแห่เขาพนมรุ้ง

ประเทศไทยถือว่าเป็นเมืองที่มีวัฒนธรรมประเพณีโบราณสถานอันทรงคุณค่ามากมาย

ที่อุทยานประวัติศาสตร์พนมรุ้งหรือปราสาทหินพนมรุ้งก็ยังเป็นหนึ่งในโบราณสถานที่เต็มไปด้วยเรื่องราวทางประวัติศาสตร์ที่สำคัญและยังเป็นเอกลักษณ์ประจำจังหวัดของจังหวัดบุรีรัมย์อีกด้วยและในช่วงปลายเดือนกุมภาพันธ์และต้นเดือนมีนาคมของทุกปีจะมีประเพณีที่ยิ่งใหญ่เกิดขึ้นที่นี้

เพื่อเป็นการแสดงความเคราพต่อสถานที่อันศักดิ์สิทธิ์แห่งนี้ในประเทศไทยมีปราสาทหินที่ยิ่งใหญ่และสำคัญอยู่3แห่งมีหลักฐานการสร้างปรากฏตามความเชื่อของศาสนาพราหมณ์-ฮินดูนั้นก็คือ ปราสาทหินพิมาย จังหวัดนครราชสีมา ปราสาทเขาพระวิหาร จังหวัดศรีษะเกษ และสุดท้าย ปราสาทหินเขาพนมรุ้ง จังหวัดบุรัรัมย์ ที่ได้มีความโดนเด่นมากที่สุ

ดในด้านสถาปัตยกรรมที่มหัศจรรย์และยังมีที่ตั้งที่บนภูเขาไฟที่ดับสนิดแล้วอีกด้วยแค่เพียงเดินทางมาถึงสถานที่แห่งนี้ก็สามารถรับรูถึงมนต์ ขลังความศักดิ์สิทธิ์และแรงศรัทธาของคนจังหวัดบุรัรัมย์ ปราสาทหินพนมรุ้งจึงไม่ได้เป็นแค่เพียงโบราณสถานประจำจังหวัดเท่านั้น

แต่ยัเป็นศุนย์รวมจิตใจของคนชาวบุรัรัมย์ตั้งแต่สมัยอดีตยาวนานมาจนถึงปัจจุบันย้อนกลับไปในยุคสมัยขอมอาณาจักรโบราณดินแดนแห่งนี้นับว่าเป็นดินแดนพื้นใหญ่ที่รวมไว้จากคนหลายชาติหลายพันธุ์จนในปัจจุบันหล่อหลอมเป็นสยามประเทศทำให้คนที่บริเวณนี้มีความสนิดชิดเชื้อเสมือนดั่งญาติพี่น้องพื้นที่แห่งนี้จึงเปรียบเสมือนแหล่งรวมอษรยธรรมที่หลากหลายเป็นเหมือนลากเง้าของวัฒนธรรม

ในแต่ละยุคสมัยดั้งสังเกตได้จากวัฒนธรรมตามความเชื่อภาษารวมไปถึงอาหารการกินที่ยังคงหลงเหลืออยู่ชุมชนโดยบริเวณโดนรอบนั้นจากที่ได้มีการสำรวจทางโบราณคดีของอุทยานประวัติศาสตร์พนมรุ้งที่ผ่านมาก็ได้พบว่าในรัศมี10กิโลเมตรโดยรอบเขาพนมรุ้งนั้นมีชุมชนโบราณอย่างน้อย46แห่งและหลายแห่งนั้นได้มีพัฒนการมาตั้งแต่สมัยก่อนประวัติศาสตร์ตอนปลายนั้นมันก็ได้หมายความว่าโดยบริเวณโดยรอบเขาพนมรุ้งมีผู้คนมาแล้วอย่างน้อย2000ปีมาแล้ว

ตั้งแต่ก่อนประวัติศาสตร์ตอนปลายทำให้พื้นที่พนมรุ้งโดยรอบเขามีปัจจัยเกื้อหนุนในการพัฒนาความเป็นชุมชนให้กลายเป็นเมืองและกลายเป็นแขวงและเรื่องของคนบุรัรัมย์เราอย่าไปมองว่าคนบุรัรัมย์เป็นเฉพาะคนที่อยู่บนพื้นแผ่นดินไทยแต่เมื่อก่อนนั้นมันไม่มีพรมแดนและระหว่างคนบุรัรัมย์และคนกัมพูชาหรืออะไรก็ตามคนในภาคตะวันออกเฉียงเหนือหรือคนในภาคกลางเป็นผู้ที่อพยพถ่ายเทกันมาตลอดได้เป็นพี่น้องกันมาตลอดประเพณีขึ้น

เขาพนมรุ้งได้ถูกจัดต่อเนื่องมานับ79ปีแล้วเพื่ออนุรักษ์สืบสารประเพณีและส่งเสริมการท่องเที่ยวทางอารยธรรมขอมโบราณในงานจะมีพิธีการบวงสรวงปราสาทพร้อมทั้งจำลองรูปแบบของกระบวนการแห่

เรื่องนี้ถูกเขียนใน ประวัติและตำนาน และติดป้ายกำกับ คั่นหน้า ลิงก์ถาวร